ช่องทางรับฟังความคิดเห็น     คลังเอกสาร     คำถามที่พบบ่อย     ถาม-ตอบ      มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี    

แนวทางการประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต2562

การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต ตามประเด็นความเสี่ยงและแนวทางป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
หน่วยงาน : สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
**ทบทวนและปรับปรุงใหม่ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ครั้งที่ 4/2562 วันที่ 3 พฤษภาคม 2562
ประเด็นความเสี่ยง การควบคุมที่มีอยู่ การประเมินความเสี่ยง แนวทางการจัดการ/มาตรการป้องกันการทุจริต ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 
โอกาสเกิดความเสี่ยง
(ระดับ 1 – 5)
ผลกระทบของความเสี่ยงต่อองค์กร
(ระดับ 1 – 5)
ผลคูณ /
ระดับความเสี่ยง
ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ดำเนินงานตามประกาศ ระเบียบ
หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัตงานการจัดซื้อจัดจ้างอย่างเคร่งครัด ได้แก่
 1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง
 2. บันทึกทะเบียนรายการจัดซื้อจัดจ้าง
 3. จัดทำบัญชีควบคุมพัสดุเป็นลายลักอักษณ์
 4. จัดทำแบบฟอร์มการเบิกจ่ายพัสดุ
 5. รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง 
ระดับ 2 ระดับ 3 ปานกลาง
(Medium)
1. ดำเนินงานตาม พรบ.การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ปี พ.ศ. 2560
2. จัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
3. กำหนดคุณลักษณะ(TOR) /แต่งตั้งคณะกรมการ
4. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ตาม พรบ. การจัดซื้อจัดจ้าง ปี พ.ศ. 2560
5. บันทึกทะเบียนรายการจัดซื้อจัดจ้าง
6. จัดทำบัญชีควบคุมพัสดุเป็นลายลักอักษณ์
7. รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง
1. ระดับ 1 มีแผนการดำเนินงานการจัดซื้อจัดจ้าง
2. ระดับ 2 ดำเนินงานตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างที่กำหนดไว้
3. ระดับ 3 ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
4. ระดับ 4 รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บริหารพิจารณา
5. ระดับ 5 นำเสนอการดำเนินงานการจัดซื้อจัดจ้างต่อที่ประชุมคณะกรรมการของสำนัก
ระดับ 5 ข้อ งานพัสดุ สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย

แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

การวัดระดับความเสี่ยง

Risk Matrix สำหรับวัดระดับของความเสี่ยง
(ระดับความเสี่ยง = โอกาสเกิด x ผลกระทบ)
5 5 10 15 20 25
4 4 8 12 16 20
3 3 6 9 12 15
2 2 4 6 8 10
1 1 2 3 4 5
↑ ผลกระทบ (C)
→ โอกาสเกิด (L)
1 2 3 4 5
 

การแปลความหมายของระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk)

ระดับความเสี่ยงโดยรวม ระดับคะแนน แถบสี ความหมาย
ต่ำ
(Low)
1-2
ขาว
ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยไม่ต้องมีการควบคุมความเสี่ยง ไม่ต้องมีการจัดการเพิ่มเติม
ปานกลาง
(Medium)
3-9
ฟ้า
ระดับความเสี่ยงที่พอจะยอมรับได้ แต่ต้องมีการควบคุมเพื่อไม่ให้ความเสี่ยงเคลื่อนย้ายไปยังระดับที่ยอมรับไม่ได้
สูง
(High)
10-16
เหลือง
ระดับความเสี่ยงที่ไม่สามารถยอมรับได้ โดยต้องมีการจัดการความเสี่ยงเพื่อให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ต่อไป
สูงมาก
(Extreme)
17 - 25
แดง
ระดับความเสี่ยงที่ไม่สามารถยอมรับได้ จำเป็นต้องเร่งจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ทันที