ช่องทางรับฟังความคิดเห็น
คลังเอกสาร
คำถามที่พบบ่อย
ถาม-ตอบ
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
ปรัชญา และวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วิสัยทัศน์และค่านิยม ของคณะวิศวกรรมศาสตร์
คณาจารย์และบุคลากร
ห้องปฏิบัติการ
ข้อมูลติดต่อ
หลักสูตรปริญญาตรี
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 (นักศึกษารหัส 61-65)
ข้อมูลและโครงสร้างของหลักสูตร
กลุ่มวิชาชีพในหลักสูตร
คู่มือนักศึกษาและแผนการเรียน
สายการเรียน
PLOs ของหลักสูตร 61
การกระจาย PLOs สู่รายวิชา-หลักสูตร 61
YLOs ของหลักสูตร 61
การประเมิน PLOs ของหลักสูตร 61
แผนการประเมิน PLOs ของแต่ละรายวิชาในหลักสูตร 61
ผลประเมิน PLOs ระดับรายวิชาของชั้นปีที่ 1 เทอมต้น
ผลประเมิน PLOs ระดับรายวิชาของชั้นปีที่ 1 เทอมปลาย
ผลประเมิน PLOs ระดับรายวิชาของชั้นปีที่ 2 เทอมต้น
ผลประเมิน PLOs ระดับรายวิชาของชั้นปีที่ 2 เทอมปลาย
ผลประเมิน PLOs ระดับรายวิชาของชั้นปีที่ 3 เทอมต้น
ผลประเมิน PLOs ระดับรายวิชาของชั้นปีที่ 3 เทอมปลาย
ผลประเมิน PLOs ระดับรายวิชาของชั้นปีที่ 4 เทอมต้น
ผลประเมิน PLOs ระดับรายวิชาของชั้นปีที่ 4 เทอมปลาย
สรุปผลประเมิน PLOs ระดับหลักสูตร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566 (นักศึกษารหัส 66 ขึ้นไป)
ความเห็นชอบการปรับปรุงหลักสูตร 66 และการรับรองปริญญาจากสภาวิศวกร
ข้อมูลทั่วไปหลักสูตร 66
โครงสร้างหลักสูตร 66
คู่มือนักศึกษาและแผนการศึกษา หลักสูตร 66
กลุ่มวิชาชีพเลือก หลักสูตร 2566
PLOs และ YLOs ของหลักสูตร 2566
สายการเรียน-แผนปกติ
สายการเรียน-แผนสหกิจศึกษา
การรับนักศึกษา
ค่าธรรมเนียมการศึกษา ระดับปริญญาตรี
การเรียนการสอนของหลักสูตร
การดูแลนักศึกษาในหลักสูตร
การรับรองปริญญาจากสภาวิศวกร
การประกันคุณภาพหลักสูตร
ปีการศึกษา 2560-2563
ปีการศึกษา 2564
ปีการศึกษา 2565
สถิติการศึกษา
สถิติบัณฑิตวิศวกรรมโยธา
ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำภายใน 1 ปี
ผลการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต
หลักสูตรบัณฑิตศึกษา
ข้อมูลพื้นฐานของหลักสูตร
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก1 ปี 2564
PLOs ระดับปริญญาโท ปี 64
โครงสร้างหลักสูตรปริญญาโท ก1 ปี 64
แผนการเรียนปริญญาโท ก1 ปี 64
กลุ่มวิชาบังคับ ป โท แผน ก1
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก2 ปี 2564
PLOs ระดับปริญญาโท ปี 64
โครงสร้างหลักสูตรปริญญาโท ก2 ปี 64
แผนการเรียนปริญญาโท ก2 ปี 64
กลุ่มวิชาบังคับ ป โท แผน ก2
กลุ่มวิชาเลือก ป โท 64
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิศวกรรมโยธา ปี 2564
PLOs ระดับปริญญาเอก ปี 64
โครงสร้างหลักสูตรปริญญาเอก ปี 64
แผนการเรียนปริญญาเอก ปี 64
การสมัครเรียน
ค่าธรรมเนียมการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา
สิทธิประโยชน์สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
กิจกรรมหลักในหลักสูตรบัณฑิตศึกษา
คู่มือนักศึกษา
กิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมทักษะวิชาชีพ
ความร่วมมือทางวิชาการ
ชุมนุมโยธา
Survey Camp
CE UBU Channel
ค่ายหนึ่งใจเดียวกัน
ปี 2567
ปี 2566
ปี 2565
เกียรติยศและรางวัล
การแข่งขันโครงสร้างด้วยไม้ไอศกรีมชิงแชมป์ประเทศไทย
การแข่งขันโครงสร้างไม้และเหล็กชิงแชมป์ประเทศไทย
การแข่งขันคอนกรีตมวลเบา ระดับอุดมศึกษา
การแข่งขันสะพานเหล็กจำลอง ระดับอุดมศึกษา
การแข่งขันโครงงานด้านวิศวกรรมปฐพี
การแข่งขันแก้ปัญหาทางวิศวกรรมปฐพี
โครงการประกวดปริญญานิพนธ์โดยสมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย
วุฒิบัตรเชิดชูความสามารถจากสภาวิศวกร
บทสรุปรางวัลและเกียรติยศ
สิทธิบัตร
ศูนย์ทดสอบวัสดุ
ศูนย์ทดสอบวัสดุและผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
อัตราค่าบริการ
กิจกรรมสอบนักศึกษาฝึกงานประจำปีการศึกษา 2567
Home
ภาพกิจกรรม
โพสโดย วิวัฒน์ พัวทัศนานนท์ โพสวันที่ 11 มิถุนายน 2567 , (อ่าน 100 ครั้ง)
หลังจากที่นักศึกษาที่ผ่านการฝึกงานในสถานประกอบการ ภายใต้การกำกับดูแลของสถานประกอบการและคณะฯ ไม่น้อยกว่า 40 วันทำการ หรือ 320 ชั่วโมงการทำงานในสถานประกอบการของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน โรงงานที่ได้รับอนุมัติจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร นักศึกษาต้องส่งบันทึกรายงานการฝึกงานประกอบการประเมินผลฝึกงานตามกำหนด โดยในการสอบประเมินผลการฝึกงานของนักศึกษานี้ ทางหลักสูตรวิศวกรรมโยธาได้จัดสอบประเมินผลการฝึกงานขึ้นในวันที่ 11 มิถุนายน 2567 เวลา 9.00-11.00 น. ณ ห้อง EN6401-6405 อาคาร EN6 คณะวิศวกรรมศาสตร์
โดยการสอบนักศึกษาในครั้งนี้หลักสูตรได้ประเมินมาตรฐานผลลัพธ์การเรียนรู้ของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม/การฝึกงาน ดังนี้
1)
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2)
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
3)
สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
4)
สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
5)
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
6)
สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7) มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
8)
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
9)
สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
10)
แสดงบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
11)
มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานและการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
12)
สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
Search
Go!
ลิ้งค์ข่าวสาร
ข่าวการศึกษา
ภาพกิจกรรม