VOC     Document Archive     FAQ     Q&A      TH    

หลักสูตรปริญญาเอก

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิศวกรรมเครื่องกล , ปร.ด.(วิศวกรรมเครื่องกล)
Doctor of Philosophy Program in Mechanical Engineering , Ph.D. (Mechanical Engineering)

ระยะเวลาการศึกษา

ใช้ระยะเวลาการศึกษา 3 ปี แบบเต็มเวลา แต่ใช้เวลาการศึกษาอย่างมากไม่เกิน 5 ปี


แผนการศึกษา

แผนการศึกษาแบบ 1 นักศึกษาต้องลงทะเบียน จำนวนไม่น้อยกว่า 58 หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) หมวดวิชาพื้นฐาน แบบไม่นับหน่วยกิต
2) รายวิชาวิทยานิพนธ์ จำนวน 58 หน่วยกิต
เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิจัย มีการศึกษาในรายวิชาพื้นฐานตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนด โดยอาจมีการศึกษาเพิ่มเติมในบางรายวิชาตามที่อาจารย์ที่ปรึกษากำหนด โดยไม่นับหน่วยกิต แต่ต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด และอาจมีกิจกรรมวิชาการอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม


รายวิชา
หมวดวิชาพื้นฐาน (Preparatory Courses)

1.  การสัมมนาและวิธีการวิจัย (Seminar and Research Methodology)
2.  เทคนิคทางคณิตศาสตร์เพื่อการประยุกต์  (Mathematical Techniques for Applications)
3.  วิธีการทดลอง และการวิเคราะห์ข้อมูล  (Experimental Method and Data Analysis)
 

หมวดวิชาเลือก

เป็นรายวิชาที่บรรจุไว้ในหลักสูตร โดยอาจเปิดทำการสอนในบางภาคการศึกษา นักศึกษาสามารถลงทะเบียนศึกษาในรายวิชาเหล่านี้ได้โดยไม่นับหน่วยกิต แต่ต้องสัมฤทธิ์ผลตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ให้อาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้เห็นชอบให้เลือกลงในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง โดยมีรายวิชาดังนี้

กลุ่มวิชาด้านกลศาสตร์ประยุกต์ (Applied Mechanics)
1.  ทฤษฎีทางด้านอีลาสติกซิตี   (Theory of Elasticity)
2.  ทฤษฎีทางด้านพลาสติกซิตี   (Theory of Plasticity)
3.  ทฤษฎีของแผ่นและของเปลือก  (Theory of Plates and Shells)
4.  การประมาณโดยไฟไนต์อิลิเมนต์เบื้องต้น  (Introduction to Finite Element Approximation)
5.  กลศาสตร์ของแข็งขั้นกลาง  (Intermediate Mechanics of Solid)
6.  ความล้า และการแตกร้าวของวัสดุเชิงวิศวกรรม(Fatigue and Fracture Mechanics in Engineering Material)
7.  การกระแทกของโครงสร้าง (Structural Impact)                
8.  การประยุกต์ใช้โปรแกรมทางไฟไนต์อิลิเมนต์เบื้องต้น(Introduction to a Finite Element Computer Package)
9.  เทคโนโลยีของการขึ้นรูปโลหะ  (Metal Forming Technology)
10.  กลศาสตร์วัสดุประกอบ  (Mechanics of Composite Materials)

กลุ่มวิชาเมคคาทรอนิคส์และการควบคุม (Mechatronics and Control)
1.  ระบบการควบคุมเชิงเส้น  (Linear Control Systems)         
2.  การควบคุมแบบโรบัสท์  (Robust and Decentralized Control)
3.  ระบบไมโครโปรเซสเซอร์สำหรับวิศวกรรมเครื่องกล (Microprocessor Systems for Mechanical Engineering)
4.  เทคโนโลยีเซ็นเซอร์และมาตรวิทยา (Metrology and Sensors)
5.  จลศาสตร์และพลศาสตร์ของกลไกและทฤษฎีการควบคุมหุ่นยนต์  (Kinematics and Dynamics of Mechanisms and Robots Control Theory)
6.  เครื่องจักรกลอิเลคทรอนิกส์และการควบคุม  (Electromechanics and Mechanical Control)
7.  การควบคุมแบบไม่เป็นเชิงเส้น (Nonlinear Control Systems)
8.  เทคโนโลยีหุ่นยนต์และสายการประกอบ (Robotics Technology and Assembly Lines)
9.  กระบวนการอัตโนมัติในอุตสาหกรรม (Industrial Process Automation)
10.  มาตรวิทยาในกระบวนการทางอุตสาหกรรม (Industrial Process Metrology)
11.  ระบบควบคุมในเครื่องจักรกล (Control Systems for Machine Tools)       
12.  การสั่นสะเทือนทางกลขั้นสูง (Advanced Mechanical Vibration)

กลุ่มวิชาด้านของไหลและความร้อน (Thermal and Fluid)
1.  กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง (Advanced Fluid Mechanics)       
2.  การถ่ายเทความร้อนขั้นสูงและการประยุกต์ในงานอุตสาหกรรม (Advanced Heat Transfer and Industrial Applications)
3.  วิศวกรรมอุณหพลศาสตร์ขั้นสูง (Advanced Engineering Thermodynamics)
4.  การคำนวณเชิงตัวเลขสำหรับพลศาสตร์ของไหล (Computational Fluid Dynamics)    
5.  การเผาไหม้และการถ่ายเทมวล (Combustion and Mass Transfer)
6.  การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent Shear Flow)       
7.  พลศาสตร์ของของไหลแบบอัดตัวได้  (Compressible Fluid Dynamics)
8.  การไหลแบบหลายเฟสและการถ่ายเทความร้อน (Multiphase Flow and Heat Transfer)
9.  การเผาไหม้ของเครื่องยนต์สันดาปภายในขั้นสูง (Advanced Internal Combustion Engine)
10.  การควบคุมการถ่ายเทไอเสียจากเครื่องยนต์ (Engine Emissions and Control)
11.  การออกแบบระบบความร้อน (Design of Thermal Systems)
12.  ทำความเย็นและการปรับอากาศขั้นสูง (Advanced Refrigeration and Air Conditioning)

กลุ่มวิชาด้านพลังงาน (Energy)
1.  ทรัพยากรพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy Resources)
2.  การเปลี่ยนรูปพลังงานมวลชีวภาพ (Biomass Energy Conversion)
3.  การจัดการพลังงานไฟฟ้า (Electric Energy Management)
4.  การวิเคราะห์ข้อมูลด้านพลังงาน (Energy Data Analysis)
6.  พลังงานแสงอาทิตย์ขั้นสูงและกระบวนการความร้อน   (Advanced Solar Energy of Thermal Process)
7.  การนำความร้อนทิ้งกลับมาใช้ใหม่ (Waste Heat Recovery)
8.  เทคโนโลยีแก๊สธรรมชาติ (Natural Gas Technology)
9.  การใช้ประโยชน์พลังงานความร้อน  (Thermal Energy Utilization)
10.  เทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุด (Optimization Techniques)